รายการในหมวดรายการสั่งจอง

พระเครื่องคเณศร
รับสั่งจองพระใหม่และวัตถุมงคล
โทร.062 939 4462, 081 425 6328


ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช  เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์
เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช 
ที่จัดสร้างโดยศาลพระเสื้อเมืองนครศรีธรรมราช สถานที่ประดิษฐานรูปเคารพตาขุนลกที่มีอายุกว่า 350 ปี

ประวัติความเป็นมา “ ตาขุนลก “

ท่านเป็นชาวจีนฮกเกี้ยนที่ได้เข้ามารับราชการในเมืองนครในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง สมัยกรุงศรีอยุธยา มีหน้าที่เกี่ยวกับนา ตำแหน่งสูงสุดที่ปรากฏใน พ.ศ. 2191 มีบรรดาศักดิ์เป็นพระหรือออกพระ นับถือศาสนาพุทธ มีบ้านพักอาศัยอยู่ในบริเวณบ้านวัดสพ เป็นบริเวณที่ตั้งบ้านเรือนของข้าราชการกรมนาของเมืองนคร ท่านมีส่วนในการพัฒนาการทำนาของชาวนา จนเป็นที่เคารพนับถือของชาวนครทั่วไป ท่านเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2206 หลุมศพของตาขุนลก ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 4 บ้านมะม่วงสองต้น อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช[/COLOR]
มีศิลาจารึกหน้าหลุมศพขนาดใหญ่วางตั้งอยู่ ศิลามีขนาด 1.50*1.00 เมตร หนาประมาณ 15 ซม. สลักเป็นภาษาจีน และข้างหน้าแผ่นศิลาจารึก มีกระถางธูปศิลา อักษรบนศิลา หน้าหลุมศพ

อ่านว่า ผู่ เป็นอำเภอหนึ่งของมณฑลฮกเกี้ยน 
อ่านว่า ยี่กุนหลิม (ภาษาฮกเกี้ยน) เป็นชื่อผู้ตาย สองตัวหน้าเป็นชื่อตัว ตัวที่สามเป็นแซ่ 
อ่านว่า กงจือมู่ แปลว่า หลุมฝังศพของ 
อักษรจีนบนกระถางธูปศิลา 
อ่านว่า จั่งไห่ น่าจะหมายถึงชื่อกลุ่มชาวจีนกลุ่มหนึ่ง ในทำนองเป็นสมาคม
อ่านว่า ตี่จือ แปลว่า สานุศิษย์ 
อ่านว่า เฉินเอี๋ยนชู เป้นชื่อบุคคล (แซ่ตั้ง หรือตัน) ผู้บริจาคกระถางศิลานี้ 
อ่านว่า สี่เชื่อ แปลว่า อนุโมทนาด้วยความยินดี 
อ่านว่า คังชี รัชสมัยหนึ่งในราชวงศ์ชิน (ค.ศ. 1662-1722 หรือ พ.ศ. 2205-2265) 
อ่านว่า ติงจิ่วชุ้ย แปลว่า ปีติ่งจิ่ว ตรงกับ ค.ศ. 1697 หรือ พ.ศ. 2240

ที่ใกล้เคียงกันด้วย ชื่อเต็มของตาขุนลกตามศิลาหน้าหลุมศพว่า “ยี่กุน” เป็นชื่อจีนดั้งเดิมของท่านซึ่ง อีกชื่อหนึ่งซึ่งเป้นชื่อรองที่ชาวจีนส่วนใหญ่มักนิยมเรียกคือ “ลก” มีความหมายว่ามั่งคั่งด้วยสมบัติและบริวาร คำว่าขุนเป็นตำแหน่งทางศักดินาที่ท่านรับราชการในเมืองนครศรีธรรมราช และยังพ้องกับชื่อของท่านด้วยชื่อของท่านจึงได้เรียกขานกันว่า “ขุนลก” ส่วนคำว่า “ตา” นำหน้าชื่อ “ขุนลก” นั้นเป็นคำสรรพนามที่คนใต้ใช้เรียกผู้เฒ่าสูงอายุในทำนองเดียวกับคำว่า ปู่ ทวด เจ้า อุ้ย ชื่อพระขุนลกปรากฏในประวัติหลวงพ่อทวดคือ ท่านพร้อมด้วยญาติพี่น้องรับเป็นเจ้าภาพอุปถัมป์บวชหลวงพ่อทวดอ่านว่า คังชี สมัยหนึ่งในราชวงศ์ชิง 
อ่านว่า ชุ่ยซื่อ แปลว่า แห่งปี 
อ่านว่า กุ่ยม่าว นับแบบจีน 60 ปี จะเป็น 1 รอบ ตรงกับ พ.ศ. 2206 ซึ่งเป็นปีที่ 2 แห่งรัชสมัยคังชี ตรงกับต้นรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ 
จงชุน แปลว่า ปีที่ 2 แห่งฤดูใบไม้ผลิ ตรงกับเดือนมีนาคม 
ลี่ตั้น แปลว่า เป็นฤกษ์ยามที่บรรจุศพในศิลาจารึกหน้าหลุมศพ ระบุปีที่ตาลุกเสียชีวิต ตรงกับ พ.ศ. 2206 และตรงกับปีที่ 3 ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ 
สานสานฉืออวน- จ่างลี (อักษรที่เว้นไว้เพราะเลือนไปจนอ่านไม่ออก) แปลว่า ผู้ใหญ่ของอ่าว หนองน้ำ สามภูเขาที่ใกล้เคียงกันด้วย ชื่อเต็มของตาขุนลกตามศิลาหน้าหลุมศพว่า “ยี่กุน” เป็นชื่อจีนดั้งเดิมของท่านซึ่ง อีกชื่อหนึ่งซึ่งเป้นชื่อรองที่ชาวจีนส่วนใหญ่มักนิยมเรียกคือ “ลก” มีความหมายว่ามั่งคั่งด้วยสมบัติและบริวาร คำว่าขุนเป็นตำแหน่งทางศักดินาที่ท่านรับราชการในเมืองนครศรีธรรมราช และยังพ้องกับชื่อของท่านด้วย
คำว่า หนองน้ำ หมายถึงน้ำที่มีน้ำขังตลอดปี เพราะเป็นที่ลุ่มด้านตะวันตกของเมืองนครตั้งอยู่ปัจจุบันพื้นที่ลุ่มต่ำในแถบนี้ไม่มีน้ำขังอยู่เลย เว้นแต่ในฤดูฝนน้ำหลากเท่านั้นที่พอจะมองเห็นสภาพที่คล้ายอดีต 
คำว่า สามภูเขา ฉากหลังด้านตะวันตกที่ไกลออกไปจะเป็นทิวเขาเป็นแนวยาวมียอดเขาเรียงกันเป็นกลุ่มๆ นับได้ 3 กลุ่ม คำว่า ผู้ใหญ่ แปลมาจากคำว่า จ่าง หน้าคำนี่มีอักษรอยู่ตัวหนึ่งเลือนจนอ่านไม่ออก 
ชาวฮกเกี้ยนเป็นจีนกลุ่มแรกที่ได้อพยพเข่ามาตั้งหลักแหล่งในเมืองนคร ซึ่งมีหลักฐานที่เด่นชัด ก็มีมาตั้งอยู่สมัยอยุธยา บริเวณที่มีชาวจีนฮกเกี้ยนอาศัยอยู่นอกจากท่าตีน-ท่าวัง ก็มีที่ตำบลพระเสื้อเมือง และตำบลนา (ปัจจุบันรวมเป็นตำบลในเมือง)
ชาวจีนที่อพยพเข้ามาอยู่ในภาคใต้ของไทยมีอิทธิพลทางด้านเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรมของท้องถิ่นอยู่ไม่น้อย เช่น ในด้านการเกษตร การทำนา คนจีนเป็นผู้นำจอบเข้ามาใช้เรียกว่า จองหัวหมู 
ความเชื่อ 
ชาวนา ชาวบ้าน ไม่ว่า ไทย พุทธ จีน อิสลาม ในบริเวณทุ่งปรัง มีความเชื่อและปฏิบัติต่อตาขุนลกสืบต่อกันมาจนเป็นประเพณี ตั้งแต่สมัยโบราณกล่าวคือ ในฤดูทำนาตอนพักเที่ยงวัน ชาวนาที่นำอาหารกลางวันมา ก่อนที่จะกินจะแบ่งข้าวหยิบหนึ่งกับข้าวขนาดปลายช้อนวางลงบนใบไม้หรือใบตอง แล้วเอ่ยชื่อตาขุนลกให้วิญญาณของท่านมารับแล้วจึงจะกิน ชาวทุ่งปรังนับถือและปฏิบัติต่อตาขุนลกเสมอมา 
แต่ในปัจจุบัน ความเจริญทางด้านวัตถุบ้านที่อยู่อาศัยได้รุกเข้าสมทบไปในเขตที่เคยเป็นทุ่งนาทุกที การทำนาก็มีน้อยลงไปตามลำดับ ความเชื่อและประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับตาขุนลกก็ลดน้อยถอยลง จนชาวเมืองนครส่วนใหญ่ไม่รู้จักตาขุนลกกันแล้ว คงเหลือแต่ความเชื่อของคนบางกลุ่มที่ตกทอดมาตั้งแต่สมัยโบราณเช่นกัน 
องค์การบริการส่วนตำบลมะม่วงสองต้นเล็งเห็นถึงความสำคัญของโบราณสถานและโบราณวัตถุที่จะรำลึกถึงคุณความดีของตาขุนลก จึงคิดจะปรับปรุงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวของตำบลมะม่วงสองต้นสืบไป 
แนะนำของเก่า 
จอบหัวหมู เป็นจอบชนิดหนึ่งที่จีนมีใช้มาร่วมพันกว่าปีแล้ว ใบจอบหนา ฐานขอบเรียกเป็นเส้นตรงคล้ายจอบธรรมดา แต่มีขนาดสั้นกว่า ช่องใส่ด้ามจอบต่างกับจอบงธรรมดาที่มีช่องใส่อยู่ด้านบนในแนวตั้ง (ลักษณะเดียวกับเสียม) ด้ามจอบจะเป็นไม้ชิ้นเดียว ส่วนปลายที่ติดกับใบจอบจะโค้งงอเป็นมุมฉากลักษณะเช่นนี้เหมาะสมกับการใช้งานแต่งคันนา ขุด หรือพรวนดินในนาที่มีน้ำขัง น้ำจะไม่กระเซ็นใส่ผู้ใช้ และยังช่วยผ่อนแรงในการใช้ดีกว่าคันจอบธรรมดา จีนเรียกจอบชนิดนี้ว่า เปาะ 
ปัจจุบันมีการทำนาด้วยแรงคนน้อยลง จึงมีการใช้จอบกันน้อยลง 
 
พระขุนลกปรากฏในประวัติหลวงพ่อทวดคือ ท่านพร้อมด้วยญาติพี่น้องรับเป็นเจ้าภาพอุปถัมป์บวชหลวงพ่อทวด 

ใครจะไปรู้เบื้องหลังเจ้าภาพการบวชครั้งใหญ่ของพระมหาโพธิสัตว์อย่างหลวงพ่อทวดคือคนจีน ใครจะไปรู้ นอกจากเเฟนพันธุ์เเท้เท่านั้น

ความเป็นมาระหว่างหลวงปู่ทวดกับตาขุนลก

ในหนังสือเทศาภิบาล 3-4 ร.ศ. 126 (พ.ศ. 2450) ซึ่งเป็นสำเนาหนังสือครั้งกรุงเก่าว่าด้วยการพระราชทานกัลปนา ยอเข้าตำราหมื่นตราพระธรรมวิลาศเอาไปวิวาทเป็นหัวเมือง กล่าวถึงหลวงปู่ทวดไว้ว่า ท่านเกิดในปี พ.ศ. 2171 (บางแห่งว่า พ.ศ. 2125 ซึ่งน่าจะถูกต้องกว่า) เมื่อบวชเณรเรียนจบการศึกษาธรรมบททศชาติที่บ้านเกิดแล้วก็ได้เดินทางมาเล่าเรียนพระ ธรรมวินัยชั้นสูงที่วัดเสมา เมืองนครศรีธรรมราชกับพระครูกาเดิม และเมื่ออายุได้ 20 ปี พระขุนลก (ตาขุนลก ซึ่งเป็นขุนนางแห่งเมืองนครในขณะนั้น) พร้อมญาติพี่น้องจึงรับเป็นเจ้าภาพอุปถัมภ์การอุปสมบทตามประเพณีด้วยวิธีอุททกสีมา (ผูกด้วยเรือมาดตะเคียนมาดพะยอมและมาดยาง) โดยมีพระมหาเถรปิยทสุสี เป็นพระอุปัชฌาย์จารย์ พระมหาเถรพุทธสาครเป็นกรรมวาจาย์และพระมหาเถรศรีรัตนเป็นอนุคู่สวด

จะเห็นได้ว่าผู้ทำพิธีอุปสมบทนั้นล้วนเป็นพระเถระชั้นสูงและยังมีเจ้านายชั้นสูงของเมืองนครเป็นผู้อุปถัมภ์เมื่อศึกษาพระธรรมวินัย จนจบหลักสูตรแล้ว ท่านประสงค์จะศึกษาพระธรรมชั้นสูงขึ้นไปอีก พระครูกาเดิมแห่งวัดเสมาเมืองจึงได้ฝากโดยสารเรือกับนายอินเดินทางเข้ากรุงศรีอยุธยา เมื่อหลวงปู่ทวดลาพระครูกาเดิมแล้วก็ได้ไปลาเจ้าอาวาสวัดท่าแพ ซึ่งอาจจะเป็นพระเถระในคณะอุปสมบทที่คลองท่าแพ (คลองปากพูน) ใน ครั้งนั้นแล้วเดินทางมาขึ้นเรือไปราชธานีครั้งนี้ ในระหว่างทางได้เกิดเหตุการณ์ที่ทำให้ท่านได้สมญานามว่า " เหยียบน้ำทะเลจืด" (ดูอนันต์ คณานุรักษ์, ประวัติหลวงพ่อทวด เหยียบน้ำทะเลจืด (ยะลา; ห้าแยกการพิมพ์ 2534))
📲062-939-4462
081-425-6328
ดูผ่านเวปไซร์ทางร้าน 
พระเครื่องคเณศร 
www.kanesorn.com
🆔 ลาย https://lin.ee/xqRXHM1
‼️งดส่งข้อความทางอินบล๊อกนะครับ
👉อินบล๊อกค้างๆเปิดไม่ได้ครับ(เฉพาะในเฟสบุ๊ค)กรุณาแอดลายเท่านั้นครับ‼️‼️‼️

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช  เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช  เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช  เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช  เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช  เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช  เปิดจองครับ

ตาขุนลก เจ้าสัวแห่งโภคทรัพย์ เหรียญตาขุนลกรุ่นแรก วัตถุมงคลหนึ่งในตำนานของนครศรีธรรมราช เปิดจองครับ

ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงข้อมูล, ราคา และของสมนาคุณ โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้าและ ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการพิมพ์
ภาพที่ใช้ประกอบในเว็บไซด์นี้อาจปรับแสงเพื่อความสวยงาม ของจริงอาจแตกต่างกันบ้าง